การจัดหาซอฟต์แวร์มาใช้งาน
โดยปกติเราสามารถหาซอฟต์แวร์มาใช้งานได้หลายๆวิธีอาจอยู่ในรูปแบบของการจัดซื้อโดย ตรงกับบริษัทผู้ผลิตหรือใช้ตัวอย่างทดลองจากการดาวน์โหลดบนอินเทอร์เน็ตก็ได้ พอสรุปวืธการเลือกของซอฟต์แวร์ได้ดังนี้
ก. แบบสำเร็จรูป(Package หรือ Ready -made Software)
แบบนี้ผู้ใช้สามารถหาซื้อได้จากตัวแทนจำหน่ายที่ได้รับการแต่งตั้งจากผู้ผลิตโดยตรง ซึ่งมักมีการเตรียมบรรจุภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้อยู่แล้ว และผู้ใช้นำไปติดตั้งเพื่อใช้งานได้ทันที โดยซื้อได้ทั้งจากตัวแทนบริษัทและเว็บไซต์ของบริษัทผู้ผลิต
ข.แบบว่าจ้างทำ(Customized หรือ Tailor-made Software)
ซอฟต์แวร์ประเภทนี้เหมาะสำหรับบริษัท หน่วยงาน ไม่สามารถนำโปรแกรมสำเร็จรูปมาประยุกต์ใช้งานได้ ก็สามารถว่าจ้างบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ ผลิตซอฟต์แวร์ที่ตรงกับความต้องการของหน่วยงานของตน ซึ่งอาจมีค่าใช้จ่ายในการว่าจ้างเขียนซอฟต์แวร์ที่แพงกว่าซอฟต์แวร์สำเร็จรูป
ค. แบบทดลองใช้(Shareware)
บริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ มักจะมีโปรแกรมเพื่อให้ลูกค้าทดลองใช้งานก่อนได้ แต่อาจมีกำหนดเวลาในการทดลองใช้ เช่น 30 วัน เพื่อเป็นทางเลือกให้ลูกค้าทดลองใช้ก่อนตัดสินใจซื้อ
ง. แบบใช้งานฟรี(Freeware)
เป็นซอฟต์แวร์ที่แจกให้ใช้งานฟรี มักเป็นโปรแกรมขนาดเล็กมีให้ดาวน์โหลดบนอินเตอร์เน็ต แต่ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ ลิขสิทธิ์ยังคงเป็นเจ้าของหรือบริษัทผู้ผลิตอยู่ บุคคลทั่วไปไม่สามารถนำไปพัฒนาต่อได้
จ. แบบโอเพ่นซอร์ส(Public-Domain/-Open Sourse)
เป็นซอฟต์แวร์ที่เปิดให้ใช้งานฟรี และผู้ใช้สามารถนำไปพัฒนาโปรแกรมต่อให้มีความสามารถมากยิ่งขึ้นได้ โดยไม่ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
ฉ. ระบบปฏิบัติการ(OS-Operating System)
เป้นซอฟต์แวร์ที่เอาไว้สำหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ
ก. แบบสำเร็จรูป(Package หรือ Ready -made Software)
แบบนี้ผู้ใช้สามารถหาซื้อได้จากตัวแทนจำหน่ายที่ได้รับการแต่งตั้งจากผู้ผลิตโดยตรง ซึ่งมักมีการเตรียมบรรจุภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้อยู่แล้ว และผู้ใช้นำไปติดตั้งเพื่อใช้งานได้ทันที โดยซื้อได้ทั้งจากตัวแทนบริษัทและเว็บไซต์ของบริษัทผู้ผลิต
ข.แบบว่าจ้างทำ(Customized หรือ Tailor-made Software)
ซอฟต์แวร์ประเภทนี้เหมาะสำหรับบริษัท หน่วยงาน ไม่สามารถนำโปรแกรมสำเร็จรูปมาประยุกต์ใช้งานได้ ก็สามารถว่าจ้างบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ ผลิตซอฟต์แวร์ที่ตรงกับความต้องการของหน่วยงานของตน ซึ่งอาจมีค่าใช้จ่ายในการว่าจ้างเขียนซอฟต์แวร์ที่แพงกว่าซอฟต์แวร์สำเร็จรูป
ค. แบบทดลองใช้(Shareware)
บริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ มักจะมีโปรแกรมเพื่อให้ลูกค้าทดลองใช้งานก่อนได้ แต่อาจมีกำหนดเวลาในการทดลองใช้ เช่น 30 วัน เพื่อเป็นทางเลือกให้ลูกค้าทดลองใช้ก่อนตัดสินใจซื้อ
ง. แบบใช้งานฟรี(Freeware)
เป็นซอฟต์แวร์ที่แจกให้ใช้งานฟรี มักเป็นโปรแกรมขนาดเล็กมีให้ดาวน์โหลดบนอินเตอร์เน็ต แต่ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ ลิขสิทธิ์ยังคงเป็นเจ้าของหรือบริษัทผู้ผลิตอยู่ บุคคลทั่วไปไม่สามารถนำไปพัฒนาต่อได้
จ. แบบโอเพ่นซอร์ส(Public-Domain/-Open Sourse)
เป็นซอฟต์แวร์ที่เปิดให้ใช้งานฟรี และผู้ใช้สามารถนำไปพัฒนาโปรแกรมต่อให้มีความสามารถมากยิ่งขึ้นได้ โดยไม่ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
ฉ. ระบบปฏิบัติการ(OS-Operating System)
เป้นซอฟต์แวร์ที่เอาไว้สำหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ